บทความ

กำลังแสดงโพสต์ที่มีป้ายกำกับ สาโท

ข้อแตกต่าง แป้งสาโท กับ แป้งข้าวหมาก

รูปภาพ
  ความแตกต่างระหว่างแป้งสาโท และ แป้งข้าวหมาก ของแป้ง ตรา "ฮ" ✍️ การแยกแยะ ลูกแป้งสาโท และ แป้งข้าวหมาก 🔵แป้งสาโท 🔴 แป้งข้าวหมาก  -หากเรามองแบบผ่านๆตา ก็คงแยกไม่ออกนะครับ ว่าลูกไหนแป้งสาโท ลูกไหนแป้งข้าวหมาก ถ้าไม่ทำเครื่องหมายบ่งชี้ไว้ - เพราะลูกแป้ง2ตัวนี้ มันมีน่าตา มุมมองภายนอกที่เหมือนกัน ดั่งฝาแฝด ทั้งขนาดก้อน และสี ของตัวลูกแป้งเอง บางเจ้าก็จะทำให้มันแตกต่างกัน อันนี้แล้วแต่สำนักลูกแป้งครับ - แต่ถ้าดูดีๆ และ สังเกตุเทียบใส่กันแล้ว มันก็มีข้อที่แตกต่าง เเละ ข้อสังเกตเบื้องต้น เพียงไม่กี่จุด ที่พอแยกแยะได้ว่า ลูกไหนคือแป้งสาโท ลูกไหนคือแป้งข้าวหมาก (กรณีไม่ทำเครื่องหมาย) - ข้อ1 👃"กลิ่น" ของลูกแป้ง  🔴 แป้งข้าวหมาก จะมีกลิ่นหอม เครื่องสมุนไพร อ่อนๆ และ มีกลิ่นคาวคล้ายไข่เหลืองๆไม่แรงมาก 🔵 แป้งสาโท จะมีกลิ่น สมุนไพร และ กลิ่นคาวๆ เหมือนไข่เหลืองที่ต้มสุกแล้ว มีกลิ่นฉุนแรงกว่ากลิ่นแป้งข้าวหมากครับ  ✔️ นี่คือแตกต่าง ข้อ1 ครับ - ข้อ2 🤹 "สี" ของลูกแป้ง 🔴 แป้งข้าวหมาก จะมีสีเหลืองอ่อนๆ โทนออกสีครีม เนื้อนวลบริสุทธิ์ผุดผ่อง 🔵 แป้งสาโท จะมีสีขาว ออกโทน

ยีสต์หมักสาโท

รูปภาพ
  ยีสต์ทำสาโท ยีสต์ทำสาโทสำเร็จรูป ยีสต์สำหรับทำสาโท เป็นยีสต์ที่ใช้งานเหมือนกับลูกแป้งสาโท และมีวิธีใช้เหมือนกับลูกแป้งสาโท ข้อดีของยีสต์สาโทนี้ คือใช้งานง่ายไม่ต้องบดเหมือนลูกแป้ง แค่โรยคลุกกับข้าวเหนียว หรือ ข้าว จ้าวก็ใช้ได้ และ รสชาติคงที่ไม่เปรี้ยว และ สาโทเป็นไว เหมาะสำหรับคนชอบได้กินไว วิธีการใช้งาน ยีสต์สาโท 5กรัม ต่อ ข้าวเหนียว หรือ ข้าวจ้าว1กิโล วิธีการทำเหล้าสาโทด้วยยีสต์ 1. แช่ข้าวสาร ประมาณ 4 – 6 ชั่วโมง เพื่อเตรียมนึ่ง 2. เมื่อแช่ข้าวเหนียวได้ตามเวลาที่ต้องการแล้ว จากนั้นนำ ข้าวเหนียวไปนึ่ง ให้สุก ใช้เวลานึ่ง ประมาณ 20-30 นาที  3. เมื่อข้าวสุกแล้ว นำข้าวเหนียวไปผึ่งให้เย็น แล้วนำไปล้างน้ำ และ ทำให้สะเด็ดน้ำ หรือ ข้าวสุกแล้ว นำไปล้างเลยก็ได้ (ล้างเสร็จเทใส่กรอง หรือ เทใส่กระชอน เพื่อให้สะเด็ดน้ำก่อน) 4. จากนั้น  เทผงยีสต์คลุกกันกับข้าวให้ทั่ว 5. เมื่อคลุกยีสต์ เข้ากันกับข้าวเหนียวดีแล้ว เทลงใส่ภาชนะที่เตรียมหมัก แนะเป็นถังน้ำที่มีก็อกเปิด จะสะดวกตออนเปิดดื่ม 6. จากนั้นใช้มือเกลี่ยๆ ให้ข้าวด้านบนเสมอกัน และกดๆ ไม่ต้องแน่นมาก  7. จากนั้นเติมน้ำ ลงไปเล็กน้อย พอท่วมข้าวเล็กน้

การทำสาโท สูตรพื้นบ้าน

รูปภาพ
สูตรทำสาโท แบบไม่เปรี้ยว สาโทหวานๆ สวัสดีครับ สำหรับบทความนี้ ผมจะมาพูดถึง การทำเหล้าสาโท หรือ การหมักสาโท ซึ่งวิธีทำการหมักสาโทนี้ ก็จะมีหลายแบบ หลายวิธีแตกต่าง กันไป ตามสูตร ตามวิธีที่บอกเล่าสืบทอดกันมา ซึ่งผมจะมาพูดถึงกรรมวิธีการหมักสาโท ที่ไม่เปรี้ยว และ อร่อยในฉบับของผมแล้วกันครับ ขั้นตอนแรก สูตร 1/1 (ข้าว1โล/น้ำ1ลิตร/ลูกแป้ง1ลูก) 1.ข้าาสาร1กิโลกรัม 1.1.นำข้าวสารไปแช่น้ำ 6-12ชั่วโมง (ถ้าเป็นข้าวสารข้าวเหนียวเก่าจะดีมากครับ) 1.2.จากนั้นนำข้าวสารที่แช่ ไปนึ่งให้สุก โดยใช้เวลาในการนึ่ง 20-30นาที 1.3.เมื่อข้าวสุกแล้ว ใช้ไม้พายคนๆ ให้ข้าวแตกตัวกัน เสร็จแล้วนำข้าวเหนียวที่ยังร้อนๆอยู่ ไปล้างน้ำเย็นทันที ล้างข้าวเหนียวจนกว่าจะเย็นสนิด 1.4.เมื่อข้าวเหนียวเย็นตัวสนิดดีแล้ว ก็ทำให้สะเด็ดน้ำสักหน่อย 2. ลูกแป้งสาโท1ลูก 2.1.บดลูกแป้งสาโทให้ละเอียด 2.2นำแป้งสาโทที่บดแล้ว คลุกเค้าไปข้าวเหนียว คลุกเค้าให้ทั่ว 2.3.จากนั้น นำข้าวที่คลุกกับแป้งสาโท ใส่ในถังหมัก 2.4.กดหน้าข้าวลง ให้ข้าวยุบตัวเสมอกัน..ไม่ต้องกดเเน่นจนเกินไป 2.5.จากนั้นเติมน้ำเปล่าที่สะอาด หรือ น้ำต้มสุก ลงไปพอท

สาโทผลไม้ ตอน สาโทแอปเปิ้ล

รูปภาพ
สาโทผลไม้ หรือ สาโทน้ำแอปเปิ้ล สวัสดีครับ ในบทความนี้ผมก็จะมาพูดถึงการทำสาโท ซึ่งเป็นการทำสาโท ที่มาจากผลไม้ ก็ถือว่าจัดอยู่ในประเภทสุราแช่